หัวข้อ: ขนมโบราณ ... ที่ไม่บานบุรี เริ่มหัวข้อโดย: พริมอุษา(ลีลาวดี สีเพลิง) ที่ 16, สิงหาคม, 2557, 05:38:55 PM (http://www.uppic.org/image-95CC_53ED99DD.jpg) (http://www.uppic.org/share-95CC_53ED99DD.html) ลืมกลืน (http://www.uppic.org/image-A044_53ED9020.jpg) (http://www.uppic.org/share-A044_53ED9020.html) ทองชมพูนุช (http://www.uppic.org/image-6AC1_53ED910A.jpg) (http://www.uppic.org/share-6AC1_53ED910A.html) ขนมดาราทอง หรือ ทองเอกกระจัง ที่เราเรียกกันว่าขนมจ่ามงกุฏนั้นจริงๆแล้วเพิ่งเกิดขึ้นจากการชนะการประกวดในงานฉลองปีใหม่ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายก นับอายุไม่ถึงร้อยปี ในขณะที่จ่ามงกุฎ ซึ่งปรากฏชื่อสมัยรัชกาลที่ 2 มีอายุร่วมสองร้อยปีแล้ว และไม่แน่ว่าอาจจะมีมานานก่อนหน้านั้น แต่ไม่ปรากฏหลักฐาน (http://www.uppic.org/image-ADAD_53ED8F21.jpg) (http://www.uppic.org/share-ADAD_53ED8F21.html) จ่ามงกุฏ (http://www.uppic.org/image-C1E6_53ED9854.jpg) (http://www.uppic.org/share-C1E6_53ED9854.html) บุหลันดั้นเมฆ (http://www.uppic.org/image-C2BA_53ED8EEF.jpg) (http://www.uppic.org/share-C2BA_53ED8EEF.html) พระพาย (http://www.uppic.org/image-CA4A_53ED8EEF.jpg) (http://www.uppic.org/share-CA4A_53ED8EEF.html) ตะลุ่ม (http://www.uppic.org/image-4B4D_53ED98F3.jpg) (http://www.uppic.org/share-4B4D_53ED98F3.html) เกสรชมพู่ (http://www.uppic.org/image-C6A1_53ED8EEF.jpg) (http://www.uppic.org/share-C6A1_53ED8EEF.html) หยกมณี (http://www.uppic.org/image-38B9_53ED8EEF.jpg) (http://www.uppic.org/share-38B9_53ED8EEF.html) สามเกลอ (http://www.uppic.org/image-983F_53ED8EC2.jpg) (http://www.uppic.org/share-983F_53ED8EC2.html) เกสรลำเจียก (http://www.uppic.org/image-E91B_53ED9926.jpg) (http://www.uppic.org/share-E91B_53ED9926.html) โพรงแสม (http://www.uppic.org/image-FF92_53ED97FC.gif) (http://www.uppic.org/share-FF92_53ED97FC.html) (http://www.uppic.org/image-D094_53EF10EB.jpg) (http://www.uppic.org/share-D094_53EF10EB.html) ขนมลิ้นจี่ ขนมโบราณที่มีรูปทรงกลมๆ เล็กๆ มีผิวขรุขระน่ารักน่าเอ็นดูเหมือนผลลิ้นจี่สดสีแดงฉ่ำ นำมาติดขั้วและก้านลิ้นจี่ของจริง ดูน่ารับประทานยิ่งนัก (http://www.uppic.org/image-F703_53EF10EB.jpg) (http://www.uppic.org/share-F703_53EF10EB.html) ขนมแดกงา ในอดีตกาลตามชาดกในพระไตรปิฏก เรื่อง จิตตคหบดี ขนมแดกงาเป็นขนมที่คนชนชั้นขายแรงงาน มักจะนิยมกินกันเป็นอาหารว่าง เพราะขนมแดกงาทำมาจากแป้งข้าวเหนียว ซึ่งจะทำให้คนที่รับประทานรู้สึกว่าอิ่มท้องได้นานกว่าข้าว ปัจจุบันขนมแดกงามีชื่อเรียก 3 ชื่อ คือ ขนมข้าวโปง ขนมข้าวเปียง และขนมแดกงา (http://www.uppic.org/image-0F7B_53EF1B93.jpg) (http://www.uppic.org/share-0F7B_53EF1B93.html) ขนมทองพลุ อีกหนึ่งขนมมงคลของไทย มีความหมายถึง “ความเจริญ มีชื่อเสียงโด่งดังเหมือนพลุ” ขนมชนิดนี้จริง ๆ มีต้นตำรับมาจากฝรั่งเศส ดัดแปลงมาจากขนมเอแคลร์ ต่างกันตรงที่วิธีทำ คือขนมเอแคลร์ใช้วิธีอบ ส่วนขนมทองพลุจะใช้วิธีทอด[/size] (http://www.uppic.org/image-DA9B_53EF10EB.jpg) (http://www.uppic.org/share-DA9B_53EF10EB.html) ขนมเทียนแก้ว มีมาตั้งแต่สมัยโบราณเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าขนมหมกหรือขนมนมสาว ทำขึ้นมาเพื่อใช้ในประเพณีของคนโบราณที่มักจะจัดทำขนมเทียนไปทำบุญแจกจ่ายกัน (http://www.uppic.org/image-9309_53EF10EB.jpg) (http://www.uppic.org/share-9309_53EF10EB.html) ขนมมัศกอด เป็นขนมไทยที่มีมาตั้งแต่โบราณ ลักษณะมีสีเหลืองนวล หอม คล้ายขนมไข่บ้านเราแต่มีการตกแต่งโดยใช้มะพร้าวขูด ผสมสีโรยหน้าเพิ่มขึ้นมา ไม่มีกลิ่นคาวไข่ มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใคร่ขอถาม.. กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังแคลง (กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) (http://www.uppic.org/image-2482_53EF10EB.jpg) (http://www.uppic.org/share-2482_53EF10EB.html) ขนมอินทนิล เป็น ขนมที่ทำยาก เพราะต้องอาศัยการกวนตัวขนมนาน และต้องพักตัวขนมที่ได้ไว้ข้ามคืนจึงจะนำมาใช้ได้ (http://www.uppic.org/image-7AA8_53EF11A6.jpg) (http://www.uppic.org/share-7AA8_53EF11A6.html) ขนมหันตรา ขนมไทยดังเดิมอีกชนิดที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน ตามประวัตินั้นผู้ที่ทำขนมนี้คือ สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (เจ้าฟ้าหญิงบุญรอด) ในรัชกาลที่ 2 (http://www.uppic.org/image-9BBC_53EF172B.jpg) (http://www.uppic.org/share-9BBC_53EF172B.html) ขนมหัวเราะ(ขนมยิ้มเสน่ห์) ขนมไทยเชื้อสายจีนที่ครั้งหนึ่งเคยนิยมกินคู่กับกาแฟ โกปี๊ในตอนเช้า เป็นขนมที่คนทำได้ลุ้นด้วยว่าขนมจะแตกหรือหัวเราะสมชื่อหรือไม่ (http://www.uppic.org/image-18D7_53EF1802.gif) (http://www.uppic.org/share-18D7_53EF1802.html)3 |