Username:
Password:
บ้านกลอนน้อยฯ
ช่วยเหลือ
ค้นหา
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
บ้านกลอนน้อย - กลอนสบายๆ สไตล์ลิตเติลเกิร์ล
>>
ห้องเรียน
>>
ห้องเรียนฉันท์
>>
--๐ สารบัญ ฉันท์ ๐--
หน้า: [
1
]
ลงล่าง
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
พิมพ์
ผู้เขียน
หัวข้อ: --๐ สารบัญ ฉันท์ ๐-- (อ่าน 11647 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Black Sword
ผู้บริหารเว็บ
จำนวนผู้เยี่ยมชม:
65535
ออฟไลน์
ID Number: 88
จำนวนกระทู้: 10394
เมื่อ มยุรธุชกางปีกฟ้อน... มวลอักษรก็ร่อนรำ
|
|
--๐ สารบัญ ฉันท์ ๐--
«
เมื่อ:
27, มกราคม, 2565, 11:06:09 PM »
บ้านกลอนน้อยฯ
Permalink:
--๐ สารบัญ ฉันท์ ๐--
- ห้องเรียน
ฉันท์
บ้านกลอนน้อยลิตเติลเกิร์ล -
-๐ สารบัญ ตำราฉันท์ ๐-
ฉันท์
ฉันท์
คือคำประพันธ์ที่ให้ความไพเราะโดย
เสียงหนัก-เบา
(ครุ-ลหุ)
คลิก
เป็นใหญ่ มีการกำหนดคำ ครุ-ลหุ รูปแบบ จำนวนพยางค์ไว้อย่างเป็นระบบ ในตำรา
“ฉันทศาสตร์”
ซึ่งไทยแปลงจากคัมภีร์วุตโตทัยที่เป็นภาษามคธแต่เดิม นำมาจัดรูปแบบ ระเบียบคำ และเติมสัมผัสทางภาษาไทยเข้าไปด้วยนั้น มีปรากฏเป็นแบบอย่างไว้ทั้งสิ้นถึง ๑๐๘ ฉันท์ โดยแยกเป็น
ฉันท์วรรณพฤติ
(กำหนดด้วยพยางค์อักษร) อย่างหนึ่ง ( ๘๑ ฉันท์) และ
ฉันท์มาตราพฤติ
(กำหนดด้วยมาตรา) อย่างหนึ่ง (๒๗ ฉันท์)
ฉันท์ที่ไทยเริ่มแปลงจากคัมภีร์วุตโตทัยนั้นมีมาแต่สมัยอยุธยา แค่เพียงแค่ ๖-๗ ฉันท์เท่านั้น จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๘๕ ใน
รัชกาลที่ ๓
แผ่นดินสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น มีพระราชประสงค์จะทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน และปรารถนาจะบำรุงกวีไทยให้รุ่งเรือง จึงทรงพระราชโองการดำริแก่กรมหมื่นไกรสรวิชิต ให้ทูลอาราธนา
สมเด็จกรมพระประมานุชิตชิโนรส
ซึ่งทรงผนวชอยู่ที่วัดพระเชตุพนฯ เวลานั้นยังดำรงพระยศเป็นกรมหมื่นให้ทรงแต่งฉันท์เป็นตำราไว้ให้ผู้คนได้ศึกษา ด้วยไทยเรายังไม่มีตำราฉันท์ที่เป็นรูปเป็นร่าง เมื่อทรงรับอาราธนาแล้ว ก็ทรงเลือกฉันท์ที่อยู่ในคัมภีร์วุตโตทัยมาแปลงเป็นฉันท์แบบไทยขึ้น โดยเลือกฉันท์วรรณพฤติมาแปลงไว้ ๕๐ ฉันท์ และฉันท์มาตราพฤติไว้ ๘ ฉันท์ และจารึกเป็นแผ่นศิลาไว้ที่
วัดพระเชตุพนฯ
เพื่อเป็นแบบอย่างตำราฉันท์และสืบเนื่องในหมู่กวีมาจนทุกวันนี้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๗ มหากิม หงส์ลดารมภ์ เปรียญ ๖ ประโยควัดมหาธาตุ ได้ปรารภกับ
นายฉันท์ ขำวิไล
ซึ่งขณะนั้นเป็นเปรียญวัดมหาธาตุอยู่ ให้แปลงเพิ่มให้ครบสิ้นทั้ง ๑๐๘ ฉันท์ เพื่อให้ฉันท์ไทยครบกระบวน
นายฉันท์ ขำวิไล
จึงทำการแปลงเพิ่มจนครบ ๑๐๘ ฉันท์ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ และรวบรวมกระบวนการแต่งฉันท์ทั้งสิ้น ๑๐๘ ฉันท์ ทั้งของสมเด็จกรมพระประมานุชิตชิโนรสและที่แปลงเพิ่มไว้ในตำราชื่อ
“
ฉันทศาสตร์
”
ซึ่งไทยใช้เป็นมาตรฐานตำราฉันท์สืบจนทุกวันนี้
และถึงแม้จะมีรูปแบบฉันท์ถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ฉันท์ที่นิยมนำมาใช้ประพันธ์เดินเรื่องกันจริง ๆ ในวรรณกรรมต่าง ๆ นั้น มีเพียงไม่กี่สิบฉันท์ ซึ่งล้วนแต่เป็น
ฉันท์วรรณพฤติ
ทั้งนั้น เพราะฉันท์วรรณพฤตินั้นมีลักษณะจุดร่วมคล้ายเคียงกับร้อยกรองอื่น ๆ ของไทย ที่กำหนดจำนวนคำ และรูปแบบที่แน่นอน เพียงแต่เพิ่มครุ-ลหุ เข้าไปเท่านั้น ต่างกับ
ฉันท์มาตราพฤติ
ที่กำหนดด้วยจำนวนมาตรา ซึ่งสามารถยักเยื้องตำแหน่งครุ-ลหุ ไปมาได้ในแต่ละบาทแต่ละวรรค ๆ หนึ่งได้หลายแบบ ขอเพียงให้ได้จำนวนมาตราครบตามที่กำหนดเท่านั้น จึงไม่เป็นที่นิยม และสำหรับ
ฉันท์วรรณพฤติ
ไม่กี่สิบฉันท์ที่นิยมนำมาเขียนเดินเรื่องในวรรณกรรมนั้น มวลกวีก็เลือกเอาเฉพาะฉันท์ที่เหมาะที่จะใส่ภาษาไทยได้และจังหวะสัมผัสถูกหูคนไทยมาเดินเรื่องนั่นเอง
ในที่นี้ ฉันทลักษณ์ของฉันท์ที่นำมาลงไว้ในที่นี้ คงไม่ลงครบทั้ง ๑๐๘ ฉันท์ แต่เลือกจับเอาแต่เฉพาะหมวด
ฉันท์วรรณพฤติ
ที่แปลงจากคัมภีร์วุตโตทัยจำนวน ๘๑ ฉันท์หนึ่ง และฉันท์ที่มีผู้สร้างสรรค์ขึ้นใหม่หนึ่ง (สีแดงที่คำว่า
คลิก
) โดยสำหรับฉันท์ที่นิยมเขียนเดินเรื่องกันจริงในวรรณกรรมต่าง ๆ นั้น จะลงพร้อมตัวอย่างจากวรรณกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย แต่ฉันท์ที่ไม่นิยมนำมาเขียนเดินเรื่องนั้น คงมีตัวอย่างเฉพาะต้นแบบจากตำราฉันท์ศาสตร์ที่ท่านทำไว้ เพื่อเป็นการศึกษา และประโลมใจไว้เป็นพื้นเท่านั้น
- ห้องเรียน
ฉันท์
บ้านกลอนน้อยลิตเติลเกิร์ล -
-๐ สารบัญ ตำราฉันท์วรรณพฤติ ๐-
ฉันท์ ๖
•
ตนุมัชฌาฉันท์ ๖
คลิก
ฉันท์ ๗
•
กุมารลฬิตาฉันท์ ๗
คลิก
ฉันท์ ๘
•
จิตรปทาฉันท์ ๘
คลิก
•
ปมาณิกฉันท์ ๘
คลิก
•
มาณวกฉันท์ ๘
คลิก
•
วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
คลิก
•
สมานิกฉันท์ ๘
คลิก
•
สยามมณีฉันท์ ๘
คลิก
ฉันท์ ๙
•
ภุชคสุสูหตฉันท์ ๙
คลิก
•
หลมุขีฉันท์ ๙
คลิก
ฉันท์ ๑๐
•
จัมปกมาลาฉันท์ ๑๐
คลิก
•
ปณวฉันท์ ๑๐
คลิก
•
มโนรัมมฉันท์ ๑๐
คลิก
•
มัตตาฉันท์ ๑๐
คลิก
•
รุมมวดีฉันท์ ๑๐
คลิก
•
สุทธวิราชิตาฉันท์ ๑๐
คลิก
ฉันท์ ๑๑
•
โทธกฉันท์ ๑๑
คลิก
•
ธาตุมมิสสาฉันท์ ๑๑
คลิก
•
ภัททิกาฉันท์ ๑๑
คลิก
•
รโธทธตาฉันท์ ๑๑
คลิก
•
สวาคตาฉันท์ ๑๑
คลิก
•
สาลินีฉันท์ ๑๑
คลิก
•
สุมุขีฉันท์ ๑๑
คลิก
•
สุรสสิรีฉันท์ ๑๑
คลิก
•
อินทรลิลาตฉันท์ ๑๑
คลิก
•
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
คลิก
•
อินทรวิเชียรฉันท์แปลง
คลิก
•
อุปชาติฉันท์ ๑๑
คลิก
•
อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๑
คลิก
•
อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
คลิก
ฉันท์ ๑๒
•
กมลฉันท์ ๑๒
คลิก
•
กุสุมวิจิตรฉันท์ ๑๒
คลิก
•
คชลีลาศฉันท์ ๑๒
คลิก
•
โตฎกฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ทุตะวิลัมพิตะมาลาฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ปมิตักขราฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ปิยังวทาฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ปุฏะฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ภุชงควิเชียรฉันท์ ๑๒
คลิก
•
ลลิตาฉันท์ ๑๒
คลิก
•
วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
คลิก
•
เวสสเทวีฉันท์ ๑๒
คลิก
•
หิตามรสฉันท์ ๑๒ (มรสังฉันท์ ๑๒)
คลิก
•
อภินันท์ฉันท์ ๑๒
คลิก
•
อินทรธนูฉันท์ ๑๒
คลิก
•
อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒
คลิก
•
อินทรวงศ์วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
คลิก
•
อุชชลาฉันท์ ๑๒
คลิก
ฉันท์ ๑๓
•
ปหาสินีฉันท์ ๑๓
คลิก
•
ภุชพงศ์ฉันท์ ๑๓
คลิก
•
รุจิราฉันท์ ๑๓
คลิก
ฉันท์ ๑๔
•
ปราชิตฉันท์ ๑๔
คลิก
•
ปหรณกลิกาฉันท์ ๑๔
คลิก
•
พิบูลรัชนีฉันท์ ๑๔
คลิก
•
มุทิงคนาทฉันท์ ๑๔
คลิก
•
วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
คลิก
•
วสันตปยาตฉันท์ ๑๔
คลิก
•
อัศนีย์ฉันท์ ๑๔
คลิก
ฉันท์ ๑๕
•
ปภัททกะฉันท์ ๑๕
คลิก
•
มณีคณะนิกรฉันท์ ๑๕
คลิก
•
มาลินีฉันท์ ๑๕
คลิก
•
วสันตวงศ์ฉันท์ ๑๕
คลิก
•
สสิกลฉันท์ ๑๕
คลิก
ฉันท์ ๑๖
•
จปลาวัตรฉันท์ ๑๖
คลิก
•
ปัฐยาวัตรฉันท์ ๑๖
คลิก
•
เปษณนาทฉันท์ ๑๖
คลิก
•
วาณินีฉันท์ ๑๖
คลิก
•
อาวัตตฉันท์ ๑๖
คลิก
ฉันท์ ๑๗
•
มันทักกันตาฉันท์ ๑๗
คลิก
•
ศิขิริณีฉันท์ ๑๗
คลิก
•
หรณีฉันท์ ๑๗
คลิก
ฉันท์ ๑๘
•
กุสุมิตลดาเวลิตาฉันท์ ๑๘
คลิก
•
สรัสวตีเทวีฉันท์ ๑๘
คลิก
ฉันท์ ๑๙
•
เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
คลิก
•
สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
คลิก
ฉันท์ ๒๐
•
นิรนามฉันท์ ๒๐
คลิก
•
อีทิสังฉันท์ ๒๐
คลิก
ฉันท์ ๒๑
•
เกตุมดีฉันท์ ๒๑
คลิก
•
ภัททวิราชฉันท์ ๒๑
คลิก
•
ละอออินทร์ฉันท์ ๒๑
คลิก
•
เวควติฉันท์ ๒๑
คลิก
•
สัทธราฉันท์ ๒๑
คลิก
ฉันท์ ๒๒
•
ภัททกะฉันท์ ๒๒
คลิก
•
วิปริตตปุญญฉันท์ ๒๒
คลิก
•
อาขยานิกาฉันท์ ๒๒
คลิก
•
อุปจิตรฉันท์ ๒๒
คลิก
ฉันท์ ๒๓
•
รุตมัชฌาฉันท์ ๒๓
คลิก
•
หริณปลุตาฉันท์ ๒๓
คลิก
•
อปริวัตตฉันท์ ๒๓
คลิก
ฉันท์ ๒๔
•
วิปุลลาฉันท์ ๒๔
คลิก
ฉันท์ ๒๕
•
ปุปผิตัคคฉันท์ ๒๕
คลิก
•
ยุวมติฉันท์ ๒๕
คลิก
ฉันท์ ๒๖
•
นาคาคะนองฝนฉ้นท์ ๒๖
คลิก
ฉันท์ ๒๘
•
วารินทร์นาคราชฉันท์ ๒๘
คลิก
•
สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘
คลิก
ฉันท์ ๓๒
•
นการวิปุลลาฉันท์ ๓๒
คลิก
•
ตการวิปุลลาฉันท์ ๓๒
คลิก
•
ภการวิปุลลาฉันท์ ๓๒
คลิก
•
รการวิปุลลาฉันท์ ๓๒
คลิก
•
วิปริตตปัฐยาวัตรฉันท์ ๓๒
คลิก
ฉันท์ ๔๐
•
คมแฝกฉันท์ ๔๐ / อัษฎางค์ดุริยา
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
กาพย์
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
กลอน
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
โคลง
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
ร่าย
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
กลอนกลบท
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องเรียน
โคลงกลบท
คลิก
•
กระโดดสู่ห้องศึกษา
ภาพโคลงกลบท
คลิก
รายนามผู้เยี่ยมชม :
มนชิดา พานิช
,
ตุ้ม ครองบุญ
,
ฟองเมฆ
,
ลิตเติลเกิร์ล
,
ข้าวหอม
,
น้ำหนาว
,
ขวัญฤทัย (กุ้งนา)
,
ก้าง ปลาทู
,
ลมหนาว ในสายหมอก
,
ชลนา ทิชากร
,
ปลายฝน คนงาม
,
กร กรวิชญ์
,
ปิ่นมุก
บันทึกการเข้า
..
รวมบทกลอน "
ที่นี่เมืองไทย...
"
รวมบทกลอน "
ร้อยบุปผา
"
รวม
บทประพันธ์ทั่วไป
"Black Sword (หมู มยุรธุชบูรพา)"
รวมบทประพันธ์
กลบท
"Black Sword (หมู มยุรธุชบูรพา)"
รวมบทประพันธ์
ฉันท์
"Black Sword (หมู มยุรธุชบูรพา)"
กลอน
สุภาษิต-คำพังเพย-สำนวนไทย
บ้านกลอนน้อย
ลานอักษร มยุรธุชบูรพา
..
หน้า: [
1
]
ขึ้นบน
พิมพ์
« หน้าที่แล้ว
ต่อไป »
กระโดดไป:
เลือกหัวข้อ:
-----------------------------
บ้านกลอนน้อย ลิตเติลเกิร์ล - มยุรธุชบูรพา
-----------------------------
=> อ่านข้อกำหนด กฎระเบียบต่าง ๆ - สมาชิกใหม่ ทักทาย แนะนำตัวที่นี่
=> ห้องกลอน คุณอภินันท์ นาคเกษม
=> ห้องกลอน คุณคนบอ มือสี่
=> สารบัญกลอน สมาชิกนักกลอน
-----------------------------
ห้องเรียน
-----------------------------
=> ห้องเรียนรู้คำประพันธ์ ประเภทกลอน
=> ห้องเรียนฉันท์
=> ห้องเรียน กลบท
=> ห้องเรียน โคลงกลบท
=> ห้องศึกษา ภาพโคลงกลบท
=> ห้องศึกษา กาพย์ โคลง ร่าย
=> ห้องหนังสือ บ้านกลอนน้อย
=> ห้องฟัง การขับ เสภา และอื่น ๆ
-----------------------------
คำประพันธ์ แยกตามประเภท
-----------------------------
=> กลอน ร้อยกรองหลากลีลา
=> คำประพันธ์เนื่องในโอกาสพิเศษต่าง ๆ
=> กลอนธรรมะ-สุภาษิต-ปรัชญา-คำคม
=> กลอนเปล่าสบาย ๆ
=> กลอนจากที่อื่น และจากกวีที่ชื่นชอบ
=> โคลง-กาพย์-ฉันท์-ร่าย-ลิลิต
=> กลบท
=> นิยาย-เรื่องสั้น-บทความ-ความเรียง-เรื่องเล่าทั่วไป
=> ห้องนั่งเล่นพักผ่อน
===> เส้นคั่นสวย ๆ
===> รูปภาพน่ารัก
กำลังโหลด...